PTS Training & Testing
 

MRT: Managerial Readiness Test
แบบทดสอบความพร้อมในการบริหาร


หัวข้อที่ทดสอบ
ความสามารถและแนวโน้มพฤติกรรมการบริหาร
(Managerial Ability and Tendency) 12 ประการ
โดยแบ่งเป็น 3 หัวข้อหลัก ตังนี้

 1. สมรรถนะส่วนบุคคล (Personal Competency)
  1. การคิดวิเคราะห์เชิงตรรกะ
  2. (Logical Analytic Thinking)
  3. EQ ในการบริหาร
  4. (Managerial EQ)
  5. จริยธรรมในการบริหาร
  6. (Managerial Ethics)
 2. สมรรถนะการบริหาร (Managerial Competency)
  1. การวางแผนงาน
  2. (Work Planning)
  3. การบริหารการแก้ปัญหา
  4. (Managing Problem Solving)
  5. การพัฒนาการทำงานเป็นทีม
  6. (Teamwork Development)
  7. การโค้ช และพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา
  8. (Coaching & Employee Development)
  9. การสร้างแรงจูงใจแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
  10. (Motivating Employees)
  11. ความเป็นผู้นำ
  12. (Leadership)
 3. สไตล์พฤติกรรมการบริหารที่ดี (Sound Managerial Behavior Style)
  1. สไตล์การบริหารเชิงสนับสนุน
  2. (Supportive Managerial Style)
  3. สไตล์การบริหารอย่างโปร่งใส
  4. (Transparent Managerial Style)
  5. หลีกเลี่ยงสไตล์สั่งการ-ควบคุม-ลงโทษ
  6. (Avoid Command-Control-Punish Style)


ใช้ทดสอบใคร
ผู้สมัครงาน ตำแหน่งผู้บริหารระดับต้น-กลาง / ผู้ที่จะเลื่อนตำแหน่งขึ้นเป็นผู้บริหารระดับต้น-กลาง


เวลาที่ใช้ในการทดสอบ
105 นาที


การรายงานผล
  1. ผลการวิเคราะห์ ความเชื่อถือได้ ของคำตอบของผู้รับการทดสอบแต่ละคน และข้อแนะนำหากพบว่ามี ความเชื่อถือได้ต่ำ

  2. คะแนนแบบทดสอบแสดงเป็นค่า Stanine Score ของแต่ละแต่ละสมรรถนะการบริหารและสไตล์พฤติกรรมการบริหารของผู้รับการทดสอบพร้อมกราฟแสดงค่า และจัดทำเป็น Profile ดังนี้
    • Profile ที่ 1 แสดง ภาพรวมความพร้อมในงานบริหาร ของผู้รับการทดสอบ
    • Profile ที่ 2 แสดง รายละเอียดความพร้อมในงานบริหารแต่ละด้านรวม 12 ด้าน
    • Profile ที่ 3 แสดง ระบุจุดแข็งและจุดที่ควรได้รับการพัฒนา ของผู้รับการทดสอบ
    • Profile ที่ 4 แสดง ข้อเสนอแนะในการพัฒนา ของผู้รับการทดสอบ

  3. แสดงรายงานผลแบบทดสอบเป็น 2 แบบคือ
    • แบบที่ 1 รายงานผลเป็น รายบุคคล
    • แบบที่ 2 รายงานผลเป็น กลุ่มบุคคล ใน Excel file format ที่ผู้ใช้สามารถเปรียบเทียบหรือจัดอันดับผลสอบของผู้สมัครได้ตามต้องการ
  • แบบที่ 1: รายงานผลรายบุคคล
    • ลักษณะคำตอบของผู้รับการทดสอบ
    • จำแนกสมรรถนะของผู้รับการทดสอบแต่ละคน ออกเป็นคะแนน 9 ระดับ โดยเทียบกับกลุ่มมาตรฐานที่มีตำแหน่งผู้บริหารระดับต้น-กลาง
    • สามารถกำหนด น้ำหนัก ความสำคัญของแต่ละสมรรถนะที่ทดสอบเพื่อนำไปรวมเป็นคะแนนรวม ที่เหมาะสำหรับการประเมินในแต่ละงาน
การแสดงผล

  • แบบที่ 2: รายงานผลเป็นกลุ่มบุคคล
    • รายงานผลการทดสอบของผู้รับการทดสอบแต่ละคนเป็นกลุ่ม ในแบบ .csv file ที่สามารถแปลงเป็น Excel file และ Edit ด้วยคำสั่งต่าง ๆ ของ Excel ได้ตามที่ต้องการ
    • รายงานเป็นกลุ่มมีประโยชน์สำหรับการจัดอันดับคะแนนของผู้รับการทดสอบ ตามคะแนนในหัวข้อต่าง ๆ จากสูงสุดไปสู่ต่ำสุด หรือตามเกณฑ์อื่น ๆ ที่ต้องการจะจัดอันดับ
การแสดงผล


ระบบการทดสอบ
สอบบนหน้าจอคอมพิวเตอร์

ผู้รับการทดสอบทำแบบทดสอบทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ และเจ้าหน้าที่ HR สามารถประมวลผลผ่านโปรแกรมได้ทันที

สอบโดยใช้กระดาษ

ผู้รับการทดสอบทำแบบทดสอบใน กระดาษคำตอบ และเจ้าหน้าที่ HR สามารถนำคำตอบคีย์เข้าโปรแกรมเพื่อประมวลผลได้ทันที

การตรวจกระดาษคำตอบโดยใช้เครื่องแสกนเนอร์ Optical Mark Reader โปรแกรมสามารถอ่าน กระดาษคำตอบ เพื่อแปลงเป็นตัวเลขที่สามารถประมวลผลได้ทันที


ประโยชน์
 ใช้คัดเลือกผู้สมัครในตำแหน่งผู้บริหารระดับต้น-กลาง และผู้ที่จะเลื่อนตำแหน่งขึ้นเป็นผู้บริหารระดับต้น-กลาง โดยจำแนกตามลักษณะของความสามารถและแนวโน้มพฤติกรรมการบริหาร


ตัวอย่างรายงานผลการทดสอบ
 ผลการทดสอบเป็นไฟล์เข้ารหัส สามารถเปิดกับโปรแกรมการประมวลผลพีทีเอสเท่านั้น แต่สามารถปรินต์เป็นไฟล์ PDF หรือออกเครื่องปรินเตอร์ได้อย่างง่าย รายงานอ่านง่ายเข้าใจง่าย ไม่จำเป็นต้องเป็นพนักงานฝ่ายบุคคลก็สามารถอ่านเข้าใจได้ง่าย

หากท่านสนใจตัวอย่างรายงานแบบทดสอบ
คลิกที่นี่เพื่อติดต่อพีทีเอส





หัวข้อที่ใกล้เคียง: แนะนำระบบทดสอบบุคลากรพีทีเอส
Printable View    

บริษัท อบรมและทดสอบ พีทีเอส จำกัด
77/280 ชั้น 21 ราชเทวีทาวเวอร์ ถนนพญาไท แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
© Copyright Since 2001, Professor Dr. Chaiyaporn Wichawut. All rights reserved.