|
CAT: Cognitive Aptitudes Test แบบทดสอบความถนัดทางปัญญา
หัวข้อที่ทดสอบ
ความถนัดทางปัญญา 3 ประการ
- การจับประเด็น
| (Issue Identification) |
- ความถนัดวิเคราะห์
| (Analytic Aptitude) |
- ความสามารถในการเรียนรู้
| (Learning Ability) |
|
ใช้ทดสอบใคร
พนักงาน / ผู้สมัครงาน วุฒิการศึกษาตั้งแต่ ปวส.ขึ้นไป ในทุกตำแหน่งงาน
|
เวลาที่ใช้ในการทดสอบ
การรายงานผล
ผลการทดสอบแสดงเป็นค่า Stanine Score ของแต่ละสมรรถนะที่ทดสอบ และแสดงเป็นกราฟแท่งในแนวนอนของแต่ละสมรรถนะ เรียกผลการทดสอบนี้ว่า Candidate Profile ประกอบด้วย
- รายงานผลรายบุคคล
- ลักษณะคำตอบของผู้รับการทดสอบ
- จำแนกความสามารถของผู้รับการทดสอบแต่ละคน ออกเป็นคะแนน 9 ระดับ โดยเทียบกับกลุ่มมาตรฐาน
- ระบุจุดแข็งและจุดที่ควรได้รับการพัฒนาตามผลการทดสอบ
- สามารถกำหนด น้ำหนัก ความสำคัญของแต่ละสมรรถนะที่ทดสอบเพื่อนำไปรวมเป็นคะแนนรวม ที่เหมาะสำหรับการประเมินในแต่ละงาน
- รายงานผลรายบุคคลกลุ่ม
- รายงานผลการทดสอบของผู้รับการทดสอบแต่ละคนเป็นกลุ่ม ในแบบ .csv file ที่สามารถแปลงเป็น Excel file และ Edit ด้วยคำสั่งต่าง ๆ ของ Excel ได้ตามที่ต้องการ
- รายงานเป็นกลุ่มมีประโยชน์สำหรับการจัดอันดับคะแนนของผู้รับการทดสอบ ตามคะแนนในหัวข้อต่าง ๆ จากสูงสุดไปสู่ต่ำสุด หรือตามเกณฑ์อื่น ๆ ที่ต้องการจะจัดอันดับ
|
ระบบการทดสอบ
|
ผู้รับการทดสอบทำแบบทดสอบทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ และเจ้าหน้าที่ HR สามารถประมวลผลผ่านโปรแกรมได้ทันที
|
|
ผู้รับการทดสอบทำแบบทดสอบใน กระดาษคำตอบ และเจ้าหน้าที่ HR สามารถนำคำตอบคีย์เข้าโปรแกรมเพื่อประมวลผลได้ทันที
|
|
Optical Mark Reader โปรแกรมสามารถอ่าน กระดาษคำตอบ เพื่อแปลงเป็นตัวเลขที่สามารถประมวลผลได้ทันที
|
ประโยชน์
| เพื่อระบุความถนัดทางปัญญาที่จำเป็นต่อการทำงาน ของผู้สมัครงาน หรือพนักงานในองค์กร ในทุกตำแหน่งงาน |
ตัวอย่างรายงานผลการทดสอบ
| ผลการทดสอบเป็นไฟล์เข้ารหัส สามารถเปิดกับโปรแกรมการประมวลผลพีทีเอสเท่านั้น แต่สามารถปรินต์เป็นไฟล์ PDF หรือออกเครื่องปรินเตอร์ได้อย่างง่าย รายงานอ่านง่ายเข้าใจง่าย ไม่จำเป็นต้องเป็นพนักงานฝ่ายบุคคลก็สามารถอ่านเข้าใจได้ง่าย
หากท่านสนใจตัวอย่างรายงานแบบทดสอบ คลิกที่นี่เพื่อติดต่อพีทีเอส |
| นอกจากนี้ยังสามารถสร้างแบบทดสอบ Tailor made (customized) ให้เหมาะกับความต้องการขององค์กรของท่านได้ |
|
|
|